วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

แนวคิด
ตัวอย่างการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
คุณลักษณะของดุษฎีบัณฑิตการบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช
ก.ดุษฎีบัณฑิตที่พึงประสงค์
คุณลักษณะของดุษฎีบัณฑิต
1.       ดำเนินชีวิตตามวิถีคนของพระราชา (ราชภัฎ) ภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ต้นแบบครูของแผ่นดิน(ในหลวง) ในการปฏิบัติงานการศึกษา
2.       มีความเป็นครู (เพราะรากเหง้าของมหาวิทยาลัยราชภัฎคือสถาบันฝึกหัดครู)
3.       มีภาวะผู้นำ ทั้งด้านคุณธรรม ด้านวิชาการ และด้านการมีชีวิตอย่างมีความสุขในสังคมโลก
สมรรถนะของดุษฎีบัณฑิต              
1.       การวิจัย
2.       ภาษา   ประกอบด้วย
a.       ภาษาอังกฤษ (ซึ่งเป็น Official Language ของ ASEAN)
b.       ภาษาไทย
c.       ภาษาของประเทศเพื่อนบ้านอย่างน้อย 1 ภาษา
3.       เทคโนโลยี Information Communication Technology
4.       การสื่อสารวิชาการที่สอดคล้องกับภูมิหลังและบริบทของผู้บริโภควิชาการนั้นๆ
5.       การจัดการตนเองให้มีความสุขยั่งยืน
สมรรถนะของดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา
1.       การบริหารจัดการองค์การทางการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล
o      การนำองค์การ(Leading)
o      การบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ โดยเน้นการวางแผนยุทธศาสตร์และการนำแผนยุทธศาสตร์ไปใช้
o      การบริหารงานบุคคล
o      การจัดการเครือข่าย
o      ฯลฯ
2.       กระบวนการนโยบาย
                        การวิเคราะห์นโยบาย
                        การพัฒนานโยบาย
การนำนโยบายไปปฏิบัติ
การประเมินนโยบาย
การวิจัยนโยบาย
3.       การบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษา
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการสินทรัพย์
การบัญชีสำหรับนักบริหาร
4.       การส่งเสริม สนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
5.       การนิเทศการศึกษา และการพัฒนาครูและบุคลากรทางกรศึกษา
การพัฒนาระบบนิเทศภายใน
การใช้บริการนิเทศจากภายนอกอย่างเหมาะสม
นวัตกรรมการพัฒนาครูและบุคลากรทางกรศึกษา
6.       การพัฒนาระบบคุณภาพทางการศึกษา
7.       พัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้
8.       การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้และสังคมแห่งความรู้
9.       สมรรถนะด้านอื่นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้นและเป็นสมรรถนะที่ระบุในเงื่อนไขของคุรุสภาในการประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา
ข. กระบวนการจัดการศึกษา
1.       การเรียนรายวิชา
สาระที่ควรเรียน
หลักการ ทฤษฎีการบริหารการศึกษา
พฤติกรรมองค์การ 
การวิจัยทางการบริหารการศึกษา
กระบวนการนโยบาย
การบริหารการศึกษาเปรียบเทียบ (อย่างน้อยต้องเข้าใจเรื่องการบริหารการศึกษาของประเทศสมาชิก ASEAN)



·       เรียนรู้โดวิธีการสัมมนา
·       เรียนรู้โดยใช้งานวิจัยเป็นสื่อ
·       เรียนโดยใช้กรณีศึกษา
2.       การสอบวัดคุณสมบัติ(Qualify Examination)
3.       การสอบประมวลความรู้(Comprehensive Examination)
4.       การทำวิทยานิพนธ์ และการเผยแพร่วิทยานิพนธ์
§       มาตรฐานคุณภาพวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก
§       ระบบที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
§       ระบบสนับสนุน
§       ระบบติดตามและช่วยเหลือนักศึกษา
§       การเผยแพร่วิทยานิพนธ์
5.  การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษและเงื่อนไขด้านภาษาอังกฤษ(คะแนน TOEL, IELS, CU TEP ฯลฯ)
6. การฝึกงานการบริหารและจัดการศึกษา (Educational Administration Internship)
7. การเสริมสร้างประสบการณ์ต่างประเทศด้านการบริหารและจัดการศึกษา
8.การสัมมนาเข้มเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพการบริหารการศึกษา 
(หลักสูตรปริญญาเอกของ มสธ.ให้ความสำคัญกับการสัมมนาเข้มและกำหนดให้มีหน่วยกิต 6 หน่วยค.ปัจจัยที่จำเป็นในการจัดการศึกษา
                อาจารย์ผู้สอนระดับปริญญาเอกที่ได้มาตรฐานคุณภาพ (ตามเงื่อนไขของ สกอ.มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาไทยด้านการบริหารการศึกษา)
                อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่ได้มาตรฐานคุณภาพ(ตามเงื่อนไขของ สกอ.)มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาไทยด้านการบริหารการศึกษา
                คณะกรรมการบริหารหลักสูตรที่มีวิสัยทัศน์ ใฝ่เรียนรู้ และตระหนักในคุณค่าการแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ และมีทักษะในการบริหารหลักสูตรอย่างมีส่วนร่วม
                กลไกภายในของมหาวิทยาลัยที่คล่องตัว ยืดหยุ่น สนับสนุนการเรียนรู้ของนักศึกษาเป็นสำคัญ
                นักศึกษาที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด และได้รับการคัดเลือกอย่างเหมาะสมกับบริบทของมหาวิทยาลัย
                สื่อการเรียนรู้และสิ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้             

แนะนำตนเอง

เกิด
งานประจำ
งานอดิเริก